เอกสารเผยแพร่ (2566)
Published Documents
เกี่ยวกับสถาบันอุดมศึกษา
1. ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับสถาบันอุดมศึกษา
1.2 การจัดตั้ง.
- กฎหมายจัดตั้งสถาบันอุดมศึกษา.
- ใบอนุญาตจัดตั้งสถาบันอุดมศึกษาเอกชนและข้อกำหนดของสถาบันอุดมศึกษาเอกชนตามกฎหมายว่าด้วยสถาบันอุดมศึกษาเอกชน.
- พระราชบัญญัติ
- พระราชบัญญัติสถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ.ศ. 2546.
- พระราชบัญญัติสถาบันอุดมศึกษาเอกชน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550.
- พระราชบัญญัติสถาบันอุดมศึกษาเอกชน (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2562.
- กฎกระทรวง การขออนุญาตและการอนุญาตให้เปลี่ยนชื่อหรือเปลี่ยนประเภท ส เอกชน พ.ศ 2561.
- กฎกระทรวงกำหนดลักษณะและเนื้อที่ที่ดิน ที่จะใช้เป็นที่จัดตั้ง ส เอกชน พ.ศ. 2549.
- กฎกระทรวงกำหนดลักษณะของมหาวิทยาลัย สถาบัน และวิทยาลัยของสถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ.ศ. 2549.
- อำนาจหน้าที่
“มหาวิทยาลัยพายัพ มีอำนาจหน้าที่ตามพระราชบัญญัติสถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ.ศ. 2546 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550 (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2562”. - ระเบียบมหาวิทยาลัยพายัพ.
- กฎหมายทั่วไปที่เกี่ยวข้อง.
1.3 สถานที่ตั้ง.
สถานที่ติดต่อ
มหาวิทยาลัยพายัพ (เขตแม่คาว) ถนนซุปเปอร์ไฮเวย์ เชียงใหม่-ลำปาง อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50000โทรศัพท์ (053) 851 478 – 86 ต่อ 225, 227
โทรสาร (053) 241 983
อีเมล : president@payap.ac.th.| มหาวิทยาลัยพายัพ (เขตแม่คาว)
ตั้งอยู่เลขที่ 272 หมู่ 2 ตำบลสันพระเนตร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่
มีเนื้อที่ทั้งหมด 540 ไร่ 0 งาน 92.8 ตารางวา| มหาวิทยาลัยพายัพ (เขตแก้วนวรัฐ)
ตั้งอยู่เลขที่ 131 ถนนแก้วนวรัฐ ตำบลวัดเกต อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่
มีเนื้อที่ทั้งหมด 41 ไร่ 1 งาน 22 ตารางวา.
1.4 โครงสร้างองค์กรกำกับดูแลสถาบันอุดมศึกษา.
1.5 โครงสร้างองค์กรของมหาวิทยาลัยพายัพ พ.ศ. 2567.
- กรรมการบริหารมหาวิทยาลัย.
- โครงสร้างการแบ่งส่วนงานทั้งตามกฎหมายและการแบ่งส่วนงานภายใน.
- รูปแบบการบริหารซึ่งแสดงนวัตกรรม เช่น การจัดการศึกษาที่แตกต่างจากมาตรฐานการอุดมศึกษา การจัดตั้งส่วนงานเฉพาะกิจหรือส่วนงานเสมือนจริง.
- ผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษา ได้แก่ อธิการบดี รองอธิการบดี คณบดี หรือเทียบเท่า (โดยเปิดเผยรายชื่อผู้ดำรงตำแหน่ง ประวัติ ประสบการณ์ ความรู้ความสามารถ หลักเกณฑ์การได้มา วาระการดำรงตำแหน่ง หลักเกณฑ์ การประเมินผลการปฏิบัติหน้าที่และอัตราค่าตอบแทน).
1.6 ข้อมูลพื้นฐานระบบธรรมาภิบาลของสถาบันอุดมศึกษา.
- นโยบายธรรมาภิบาล ประมวลจริยธรรมนายกสภาสถาบันอุดมศึกษาและกรรมการสภาสถาบันอุดมศึกษา ผู้บริหาร บุคลากรของสถาบันอุดมศึกษา และผู้เรียน.
- ระบบการรับฟัง การวิเคราะห์ และการตอบสนองความต้องการ ของผู้เรียน ผู้ใช้บัณฑิต ท้องถิ่น และสังคมในการดำเนินการตามวัตถุประสงค์ของสถาบันอุดมศึกษา.
- ข้อมูลการร้องเรียนและกระบวนการจัดการเรื่องร้องเรียน รวมทั้งข้อมูลเกี่ยวกับการตรวจสอบสถาบันอุดมศึกษาโดยองค์กรอื่น.
- ข้อมูลผลการประเมินคุณธรรม และความโปร่งใสในการดำเนินงาน หรือผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ.
- การส่งเสริมธรรมาภิบาลในมหาวิทยาลัย.
1.7 โครงสร้างการบริหาร งานบุคคล.
1.8 ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับการบริหารงบประมาณ
- งบประมาณรายจ่ายประจำปีของ สถาบันอุดมศึกษา.
- รายได้จากค่าเล่าเรียนและค่าธรรมเนียม รายได้จากการทำวิจัยและนวัตกรรม.
- รายได้จากทรัพย์สินทางปัญญาและการร่วมทุน
- รายได้จากการให้บริการทางวิชาการ และรายได้อื่น เช่น ดอกเบี้ย ค่าเช่า
- การจัดหารายได้และหน่วยงานที่จัดหารายได้
- กองทุนที่จัดตั้งขึ้นในสถาบันอุดมศึกษา.
มาตรา ๖๑ ให้สถาบันอุดมศึกษาเอกชนจัดสรรทุนของสถาบันเป็นกองทุนประเภท ต่าง ๆ ที่มีลักษณะและวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้
(๑) กองทุนทั่วไป ได้แก่ เงินและทรัพย์สินอื่นที่จัดสรรไว้เพื่อใช้ในการดำเนินกิจการทั่วไปของสถาบันอุดมศึกษาเอกชน
(๒) กองทุนทรัพย์สินถาวร ได้แก่ ทรัพย์สินถาวรทุกประเภทที่ใช้ในการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษาเอกชนเป็นส่วนรวม รวมทั้งเงินที่จัดสรรไว้เพื่อจัดหาเพิ่มเติม ก่อสร้างและดัดแปลงทรัพย์สินถาวรของสถาบันอุดมศึกษาเอกชนให้ดีขึ้น แต่ไม่รวมถึงทรัพย์สินถาวรที่เป็นของกองทุนอื่นโดยเฉพาะ
(๓) กองทุนวิจัย ได้แก่ เงินและทรัพย์สินอื่นที่จัดสรรไว้เพื่อใช้ในการค้นคว้าหา ความรู้ ความก้าวหน้าทางวิชาการ การส่งเสริมและสนับสนุนงานวิจัย รวมทั้งการคิดค้นสิ่งประดิษฐ์
(๔) กองทุนห้องสมุดและเทคโนโลยี ได้แก่ เงินและทรัพย์สินอื่นที่จัดสรรไว้เพื่อใช้ซื้อหนังสือ วารสาร สื่อการศึกษา อุปกรณ์ เครื่องมือ เทคโนโลยี และทรัพย์สินอื่นที่ใช้ในห้องสมุด
(๕) กองทุนพัฒนาบุคลากร ได้แก่ เงินและทรัพย์สินอื่นที่จัดสรรไว้เพื่อใช้ในการให้ทุนการศึกษาและการฝึกอบรมแก่คณาจารย์และเจ้าหน้าที่ของสถาบันอุดมศึกษาเอกชน ทั้งนี้ ตามข้อกำหนดของสถาบันอุดมศึกษาเอกชน
(๖) กองทุนสงเคราะห์ ได้แก่ เงินและทรัพย์สินอื่นที่จัดสรรไว้เพื่อใช้ในการให้ทุนแก่นักศึกษาและการสงเคราะห์อื่นที่เกี่ยวข้องกับนักศึกษา การให้สวัสดิการแก่คณาจารย์ประจำและเจ้าหน้าที่ของสถาบันอุดมศึกษาเอกชนและการสงเคราะห์อื่น ๆ ทั้งนี้ ตามข้อกำหนดของสถาบันอุดมศึกษาเอกชน
(๗) กองทุนคงเงินต้นหรือกองทุนอื่น ได้แก่ เงินและทรัพย์สินอื่นที่จัดสรรไว้เพื่อใช้ในวัตถุประสงค์อื่นตามที่สภาสถาบันกำหนดตามความจำเป็น และ เหมาะสม
การบริหารกองทุนแต่ละประเภทนั้น ให้เป็นไปตามข้อบังคับของสถาบันอุดมศึกษาเอกชน.
1.9 หลักสูตรที่มีการจัดการเรียนการสอน
- หลักสูตรที่มีการจัดการเรียนการสอนโดยได้แจ้งให้สำนักงานปลัดกระทรวงทราบแล้ว และหลักสูตรที่มีการรับรองจากคณะกรรมการมาตรฐานการอุดมศึกษา (หลักสูตรปกติ หลักสูตรภาคพิเศษ และหลักสูตรนานาชาติ).
- หลักสูตรที่สอดคล้องกับมาตรฐานของสภาวิชาชีพ โดยสภาวิชาชีพได้รับรองให้ผู้เรียนหรือบัณฑิตในหลักสูตรเข้าศึกษาต่อหรือเป็นสมาชิกเพื่อประกอบวิชาชีพที่อยู่ในความดูแลของสภาวิชาชีพได้
- ข้อมูลอัตราค่าเล่าเรียน อัตราค่าเล่าเรียนเฉลี่ยต่อปีการศึกษา (หลักสูตรปกติ หลักสูตรภาคพิเศษ หลักสูตรนานาชาติ)
1.10 ระบบและสิ่งอำนวยความสะดวกหรือสนับสนุนการศึกษาหรือการเรียนรู้ของผู้เรียน สำหรับกรณีทั่วไป.
1.11 ระบบและสิ่งอำนวยความสะดวกหรือสนับสนุนการศึกษาหรือการเรียนรู้ของผู้เรียน สำหรับกรณี ผู้ที่ต้องได้รับความช่วยเหลือเป็นพิเศษ
- ข้อมูลจำนวนห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ ห้องทดลอง ห้องปฏิบัติการจำลองหอพัก และห้องสมุด.
- สิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้เรียน ที่ต้องได้รับความช่วยเหลือเป็นพิเศษ.
- การให้ทุนและความช่วยเหลือของสถาบันอุดมศึกษาเพื่อสนับสนุนผู้เรียน ที่ต้องได้รับความช่วยเหลือเป็นพิเศษ ในสถาบันอุดมศึกษา
1.12 ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่ออนาคต.
- ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการเรียนการสอนและบริหารจัดการ.
- ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการให้บริการและอำนวยความสะดวกต่อผู้เรียน โดยเฉพาะบริการระบบการเข้าถึงเครือข่ายอินเทอร์เน็ต.
- การเป็นสมาชิกฐานข้อมูลสำคัญของโลกและประเทศ
- Thai Journals Online (ThaiJO)
2. ข้อมูลการนำองค์กร.
2.1 วิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยมหลัก ปรัชญา เป้าหมายของสถาบันอุดมศึกษา.
2.3 พันธกิจของสถาบันอุดมศึกษา ที่มีต่อผู้เรียน บุคลากร สังคมและประเทศ ซึ่งประกาศต่อสาธารณะ.
2.4 แผนพัฒนาสถาบันอุดมศึกษาและแผนปฏิบัติการประจำปี.
2.5 โครงการสำคัญที่แสดงลักษณะเด่นของสถาบันอุดมศึกษา.
2.6 ข้อมูลการพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนและคุณลักษณะของผู้สำเร็จการศึกษา.
การดำเนินงานตามวัตถุประสงค์ หน้าที่ และอำนาจของสถาบันอุดมศึกษา
- การผลิตบัณฑิตและการพัฒนาศักยภาพของผู้เรียน.
- การพัฒนางานวิจัยและการส่งเสริมการสร้างนวัตกรรม.
- การบริหารและพัฒนาบุคลากร.
- การประกันคุณภาพการศึกษา.
- ข้อมูลหลักสูตรและรายวิชาที่ให้ผู้เรียนเรียนรู้จากประสบการณ์จริงในรูปแบบที่หลากหลายนอกเหนือจากการบรรยายและการปฏิบัติในชั้นเรียน.
- การจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน.
- การจัดการเรียนการสอนแบบสหกิจศึกษา.
- การศึกษาเชิงบูรณาการกับการทำงานและรูปแบบนวัตกรรมอื่นทางการศึกษา.
- การบริการวิชาการ.
- การทะนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม.
- ข้อมูลเครือข่ายความร่วมมือในการจัดการศึกษา
- การได้รับรางวัล การรับรองหรือการประกาศเกียรติคุณอื่นจากหน่วยงานทั้งในประเทศ ต่างประเทศ และระหว่างประเทศ.
- คู่มือหรือมาตรฐานการปฏิบัติงาน.
- คู่มือหรือมาตรฐานการให้บริการ.
ผลการดำเนินงานตามวัตถุประสงค์ หน้าที่ และอำนาจของสถาบันอุดมศึกษา
- ข้อมูลสถิติผู้สมัครเข้าศึกษา ผู้ได้รับการคัดเลือกให้เข้าศึกษา และผู้เรียนที่กำลังศึกษา รวมทั้งข้อมูลสถิตินักเรียนของสถานศึกษา ในสังกัดสถาบันอุดมศึกษา (โรงเรียนสาธิต หลักสูตรประกาศนียบัตร วิชาชีพ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง) โดยภาพรวม และแยกเป็นรายหลักสูตรหรือรายโครงการ
- ข้อมูลของผู้เรียนซึ่งออกจากการศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา และสาเหตุ การลาออก โดยภาพรวมและแยก เป็นรายหลักสูตรหรือรายโครงการ.
- ข้อมูลสถิติผู้สําเร็จการศึกษา โดยภาพรวมและแยกเป็นรายหลักสูตร หรือรายโครงการ.
- ข้อมูลสถิติการมีงานทําของบัณฑิต ประเภทหน่วยงานที่บัณฑิตทํางาน เงินเดือนหรือรายได้เฉลี่ยของบัณฑิต ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต.
- ข้อมูลการศึกษาต่อของบัณฑิต
- ข้อมูลสถิติรายปีเกี่ยวกับบทความวิชาการ หนังสือ หรือตํารา ที่เผยแพร่ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติหรือระดับชาติ ซึ่งระบุแหล่งที่เผยแพร่ผลงานวิชาการนั้น.
- ข้อมูลสถิติบทความวิจัยผลงานวิจัย ที่เผยแพร่ในวารสารวิชาการระดับ นานาชาติหรือระดับชาติ ซึ่งระบุแหล่งที่เผยแพรผลงานวิจัยนั้น ๆ และข้อมูลสถิติโครงการวิจัยซึ่งมิใช่วิทยานิพนธ์ที่อยู่ระหว่างดําเนินการ.
- ข้อมูลสถิติการสร้างสรรค์นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ สิทธิบัตร อนุสิทธิบัตร ทรัพย์สินทางปัญญาอื่น หรือ งานสร้างสรรค์อื่น และข้อมูล สถิติโครงการนวัตกรรมหรืองานสร้างสรรค์ที่อยู่ระหว่างดําเนินการ.
- ข้อมูลสถิติการนําผลงานวิจัยและนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ หรือเชิงสาธารณะ หรือเพื่อการศึกษาวิจัยต่อยอดเช่น การตั้งวิสาหกิจเริ่มต้น การร่วมลงทุน การอนุญาตให้ใช้สิทธิหรือการขายทรัพย์สินทางปัญญา.
- ข้อมูลสถิติของการนําผลงานวิจัยและนวัตกรรมเกี่ยวกับเทคโนโลยีที่เหมาะสมไปใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ท้องถิ่นหรือชุมชน.
- ข้อมูลสถิติวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโทหรือปริญญาเอก รวมทั้งวิทยานิพนธ์ ซึ่งได้รับอนุมัติหัวข้อให้ศึกษาวิจัย
- ข้อมูลผลการจัดอันดับของสถาบันอุดมศึกษาเปรียบเทียบภายในประเทศผลการจัดอันดับของสถาบันอุดมศึกษาในระดับโลก รางวัลที่ได้รับ ผลงานนักศึกษา และผลงานบุคลากร.
- ข้อมูลสรุปผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในและภายนอก ในระดับหลักสูตร ระดับคณะและระดับสถาบัน และข้อมูลสรุปแผนพัฒนา คุณภาพการศึกษาของสถาบันอุดมศึกษา.
- ข้อมูลผลการให้บริการทางวิชาการแก่ชุมชน สังคม และประเทศ.
- รายงานผลการดำเนินงานประจำปี.
ข่าวประชาสัมพันธ์
Social Network มหาวิทยาลัย
คณะกรรมการจัดทำรายงานการเปิดเผยผลการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา
การเปิดเผยผลการดำเนินการของสถาบันอุดมศึกษาต่อสาธารณะ
การปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน.
- ทุกรอบปีการศึกษา.